บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2021

RS232

รูปภาพ
   นายเพิ่มเกียรติ ฟักบ้านใหม่ เลขที่6 กลุ่ม3 1. มาตรฐาน RS232 เป็นมาตรฐานที่รับ/ส่งข้อมูลแบบใด RS232 รับ/ส่งข้อมูลแบบ Full duplex ส่งข้อมูลได้พร้อมกันทั้งคู่ในเวลาเดียวกัน 2. มาตรฐาน RS232 การรับ/ส่งข้อมูล ใช้สายสัญญาณอะไรบ้าง  การรับ/ส่งข้อมูลนั้นจะใช้สายไฟทั้งหมด 3 เส้น ได้แก่  Tx คือ สายส่งข้อมูล ซึ่งสายเส้นนี้จะมีหน้าที่ในการส่งข้อมูลเท่านั้น Rx คือ สายรับข้อมูล ซึ่งสายเส้นนี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลเท่านั้น GND คือ สายกราวด์ เป็นสายเทียบหรืออ้างอิงแรงดันไฟฟ้า 0V 3. ข้อดีมาตรฐาน RS232 มีอะไรบ้าง  มีผู้ใช้งานรู้จักเยอะ 4. ข้อข้อเสียมาตรฐาน RS232 มีอะไรบ้าง   ส่งข้อมูลได้ระยะไกล้ ส่งข้อมูลได้ช้า เชื่อมต่อได้แค่ที่ละ1อุปกรณ์ 5. ถ้าใช้สายเคเบิลที่มี  capacitance สูงสุดเท่ากับ 2,500 pF และความยาวสาย 600 ฟุต ควรใช้อัตตราการโอนถ่ายข้อมูลเท่าใด อัตตราการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 4800 ความยาวสายเคเบิ้ลสูงสุดที่(ฟุต)  1000 6. รหัสสัญาณตามมาตรฐาน RS 232 มีกี่รหัส อะไรบ้าง มีสองรหัสคือ 0,1 7. จงอธิบาย รหัสสัญาณตามมาตรฐาน RS 232 ภาครับภาคส่ง มีค่าแรงดันไฟฟ้าเ...

SPI หรือ Serial Peripheral Interface

รูปภาพ
  นาย เพิ่มเกียรติ ฟักบ้านใหม่ เรื่อง  SPI (Serial Peripheral Interface) SPI หรือ Serial Peripheral Interface           เป็นวิธีการสื่อสารอนุกรมแบบ Synchronous อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งทำงานในรูปแบบที่ให้อุปกรณ์ตัวหนึ่งทำหน้าที่เป็น Master ในขณะที่อีกตัวหนึ่งทำหน้าที่เป็น Slave และสามารถส่งข้อมูลในโหมด Full-duplex นั่นหมายความว่า สัญญาณสามารถส่งหากันได้ระหว่าง Master และ Slave ได้อย่างต่อเนื่อง รูปแบบข้อมูลการสื่อสารหรือ Protocol ของแบบ SPI นี้ ไม่ได้มาตรฐานกำหนดตายตัว ว่าข้อมูลที่ส่งหากันต้องอยู่ในรูปแบบหรือ Format แบบไหน เป็นการคิด Protocol การสื่อสารกันเอาเอง หรือดูจาก Datasheet ของอุปกรณ์         ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้การสื่อสารแบบ SPI ได้แก่ โมดูลแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอล และโมดูลแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก การติดต่อกับหน่วยความจำ EEPROM และ FLASHโมดูลนาฬิกาดิจิตอล หรือ Real Time Clock : RTC เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ และความดัน อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น signal mixer , Potentiometer , LCD controller , USART...

ข้อแตกต่าง I2C oneWire SPI

รูปภาพ
  นาย เพิ่มเกียรติ ฟักบ้านใหม่ เรื่อง ข้อแตกต่าง I2C 1-Wire SPI ความเเตกต่างระหว่าง I2C และ SPI     ข้อแตกต่างหลักๆ ของ I2C และ SPI คือ จำนวนสายที่ใช้ในการติดต่อ  I2C ใช้ 2 เส้น ส่วน SPI ใช้ 3 - 4 เส้น การใช้สายที่น้อยกว่าของ I2C ก็ทำให้ความเร็วในการส่งของ I2C ช้ากว่าแบบ SPI  แต่ที่ว่าช้าก็เพียงพอสำหรับงานทั่วๆไปแล้ว เช่น การทำ D2A หรือ A2D (ประมาณ 100 ksps) การส่งข้อมูลไปที่จอ LCD การรับค่าจากเซนเซอร์ที่ไม่ต้องการความเร็วสูงๆ (พวกวัดค่าทางกายภาพต่างๆ เช่น แสง สี เสียง ความเร็ว ความเร่ง พวกนี้เหลือเฟือ)     ข้อดีของการสื่อสารแบบ SPI คือ สามารถสื่อสารแบบ Full Duplex กล่าวคือสามารถรับและส่งข้อมูลได้พร้อมๆ กัน เพราะมีสายสัญญาณรับและส่งข้อมูลโดยเฉพาะ รูปแบบการสื่อสารของ SPI ไม่ต้องกำหนด Address เพื่อระบุอุปกรณ์ที่ต้องการสื่อสารเหมือน I2C เนื่องจากใช้สายสัญญาณ SS เป็นตัวควบคุม จึงมีอัตราการรับส่งข้อมูลสูงกว่า I2C และเหมาะสำหรับการรับส่งข้อมูลแบบต่อเนื่อง หรือ Streaming อย่างไรก็ตาม หากมีอุปกรณ์ Slave หลายตัวดังรูป การสื่อสารแบบ SPI ต้องใช้สายสัญญา...

I2C

รูปภาพ
  นาย เพิ่มเกียรติ ฟักบ้านใหม่     การเชื่อมต่ออุปกรณ์แบบ I2C (  )        = I2C Bus ย่อมาจาก  Inter Integrate Circuit Bus ( IIC )  นิยมเรียกสั้นๆว่า    BUS  (ไอ-แสคว-ซี-บัส) เป็นการสื่อสารอนุกรม แบบซิงโครนัส (Synchronous) เพื่อใช้ ติดต่อสื่อสาร ระหว่าง ไมโครคอนโทรลเลอร์ (MCU) กับอุปกรณ์ภายนอก ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Philips Semiconductors โดยใช้สายสัญญาณเพียง 2 เส้นเท่านั้น คือ serial data (SDA) และสาย serial clock (SCL) ซึ่งสามารถ เชื่อมต่ออุปกรณ์ จำนวนหลายๆ ตัว เข้าด้วยกันได้ ทำให้ MCU ใช้พอร์ตเพียง 2 พอร์ตเท่านั้น การเชื่อมต่ออุปกรณ์แบบ   BUS         BUS  ใช้สายสัญญาณ 2 เส้น คือ SCL ,SDA สำหรับติดกับอุปกร์แบบ 2 ทิศทาง โดยที่ขาสัญญาณทั้ง 2 จะต้องต่อกับตัวต้านทานแบบ pull up 2-10K เนื่องจากเอาต์พุตมีลักษณะเป็น แบบ Open Darin หรือเป็นแบบ Open Collector เพื่อให้เอาต์พุตเชื่อมต่อกันได้หลายตัว                      ...

โปรแกรมโครงสร้าง

รูปภาพ
               การเขียนโปรแกรมส่งข้อมูลอนุกรม                     วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2564            นายเพิ่มเกียรติ ฟักบ้านใหม่ เลขที่6 กลุ่ม3 ผ่านโปรแกรม Arduion  1.รหัสแอสกี้ 2.โปรแกรมส่งข้อมูลแบบอนุกรม 3. การทดสอบอัตราความเร็วการส่งข้อมูล ใน หัวข้อที่ 1 กับ 2 ใช้อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล แบบปกติที่ 1200 baud ใช้กับ อุปกรณ์ Arduino ESP8266 NodeMCU ไม่มีข้อผิดพลาดในการส่งข้อมูล สามารถส่งได้ความเร็มสูงสุดคือ230400 baud

การใช้งานโปรแกรม Wondershare Filmora X

รูปภาพ
  15 มค 2564   วิชาการใช้งานโปรแกรมมัลติมีเดีย  นาย เพิ่มเกียรติ ฟักบ้านใหม่   การใช้งานโปรแกรม Wondershare Filmora X 1 นักเรียนทดลองใช้ โปรแกรมตัดต่อ VDO 1 โปรแกรมแล้ว  2. ทำ VDO แนะนำการใช้เบื้องต้น และนำขึ้น ชาแนลยูทูปของนักเรียน 3. เขียนบทความในบล็อกเกอร์  แนะนำการใช้เบื้องต้น โดยฝัง Vdoไว้ในบทความด้วย ตัวอย่าง  การใช้งานโปรแกรม Wondershare Filmora X 1 วิธีการติดตั้งโปรแกรม 1.1 ค้นหา Wondershare Filmora X  ใน google.    1.2 เข้าหน้าเว็บหลักแล้วกดดาวโหลด 1.3 กดดาวโหลดแล้ว ติดตั้งได้เลย 1.3 เมื่อติดตั้งเสร็จจะได้โปรแกมดังนี้    ตัวแอพจะมีหน้าตาดังนี้ 2 วิธีใช้งานโปรแกรม  เบื้องต้น 2.1 เครื่องมือและออฟชั่นต่างๆถายในแอพ 1 วิดิโอ  2เสียง 3ไฟล์ที่นำมาประกอบวิดิโอ 4วิดิโอแสดงผล 5โฟรเดอร์ 2.2 ขั้นตอนเบื้องต้นในการทำวิดิโอ 1เลือกวิดิโอที่ต้องการแล้วนำมาวางในช่องวิดิโอ 2นำเสียงที่เลือกมาใส่ช่องของเสียง และนำมาใส่เพิ่มเติมได้ 3ปรับค่าเสียงได้ตามความต้องการ ทีละ layer. 4 ตัดต่อวิดิโอได้ทีละช่วงและเพิ่ม layer ตามความ...